สรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 16 มิ.ย. 64
ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ- แม่น้ำสายหลัก ภาคเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,015 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,382 ล้าน ลบ.ม. (45%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 110.40 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 100.21 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 8 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 15 มิ.ย. 64-
ภาคเหนือมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง บริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก – แม่น้ำสายหลัก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออก ภาคใต้ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,020 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,394 ล้าน ลบ.ม. (45%)...
อ่านต่อ“สทนช.”‘แจงเกณฑ์ประกาศภัยแล้งปี 63/64 ไม่บิดเบือนยัน “บิ๊กป้อม” สั่งเร่งแผนช่วยเหลือนาข้าวหลังประสบภาวะฝนทิ้งช่วง
สทนช.ยืนยันฤดูแล้ง 2563/64 ที่ผ่านมา รัฐบาลวางมาตรการและแผนเชิงรุกรับมือภัยแล้งประสบผลสำเร็จ ชี้นิยามการประกาศพื้นที่ภัยแล้งตามหลักเกณฑ์ภัยพิบัติ ส่วนปัญหาข้าวนาปีขาดน้ำในปัจจุบัน เนื่องจากเกิดภาวะฝนทิ้งช่วง “บิ๊กป้อม” สั่งบูรณาการเร่งให้ความช่วยเหลือ มั่นใจสถานการณ์จะคลี่คลายจากกรณีที่ นายนพพล เหลืองทองนารา ส.ส.พิษณุโลก พรรคเพื่อไทย ระบุว่า พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) กล่าวว่าประเทศไทยไม่มีภัยแล้ง เป็นการโกหกประชาชนหรือไม่ เพราะในความเป็นจริง เกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้งมาอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดพื้นที่ปลูกข้าวทั่วประเทศไทย ข้าวกำลังยืนต้นตายหมด เพราะชลประทานไม่ปล่อยน้ำเข้าพื้นที่นั้นดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ชี้แจงว่าช่วงฤดูแล้ง ปี 2563/2564 ที่ผ่านมารัฐบาลโดยกองอำนวยการน้ำแห่งชาติได้วางแผนบริหารจัดการน้ำในเชิงป้องกันล่วงหน้า โดยได้กำหนดมาตรการรับรองสถานการณ์ขาดแคลนน้ำและวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงก่อนเข้าสู่ฤดูแล้ง เพื่อแจ้งเตือนทำความเข้าใจกับประชาชน โดยพลเอกประวิตร...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 14 มิ.ย. 64
– พายุดีเปรสชัน “โคะงุมะ” มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ประมาณ 140 กิโลเมตร คาดว่าจะอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในระยะต่อไป ส่งผลทำให้ร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณตอนบนของภาคเหนือและประเทศลาวตอนบน ทำให้บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,030 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,411 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 7 แห่ง+ ตามที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้สั่งการให้หน่วยงานบูรณาการเตรียมความพร้อม 10 มาตรการ เพื่อรับสถานการณ์ในช่วงฤดูฝนนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้-...
อ่านต่อ“พลเอก ประวิตร” ลงพื้นที่ภาคตอ.การันตีน้ำมั่นคงเร่งรัดพัฒนาแหล่งน้ำ เพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำฝน สร้างความมั่นใจประชาชน-นักลงทุน
เมื่อวันที่ (14 มิ.ย.64) พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี พร้อมคณะ ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าแผนการพัฒนาแหล่งน้ำ และความพร้อมรับมือฤดูฝน’64 ในพื้นที่ภาคตะวันออก ณ อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง โดยมี นายชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง กล่าวต้อนรับ พร้อมรับฟังการบรรยายสรุปจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ การดำเนินการตามมาตรการรับมือฤดูฝนในพื้นที่ภาคตะวันออกและภาพรวม การจัดการน้ำสนับสนุนอีอีซี ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของอีอีซี และความต้องการใช้น้ำในอนาคต โดย นายสำเริง แสงภู่วงค์ รองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) แนวทางการบริหารจัดการน้ำรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของอีอีซีในอนาคต โดย นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน และนายคณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พร้อมด้วย...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 13 มิ.ย. 64
– ร่องมรสุมพาดผ่านตอนบนของภาคเหนือและประเทศลาวตอนบน เข้าสู่พายุโซนร้อน “โคะงุมะ” บริเวณอ่าวตังเกี๋ย ประเทศเวียดนาม ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรงยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,010 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,402 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 7 แห่ง+ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้สั่งหน่วยงานทั้งฝ่ายปกครองและทหาร บูรณาการเตรียมความพร้อมในเชิงป้องกันก่อนเกิดภัย ดำเนินการ 10...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 12 มิ.ย. 64
– มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีฝนตกหนักบางแห่ง+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,001 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,398 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 7 แห่ง+ วานนี้ (11 มิ.ย. 64) พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ ครั้งที่ 3/2564 เพื่อติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนหลักการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมและการระบายน้ำพื้นที่ชุมชนเมืองพัทยาและพื้นที่ต่อเนื่อง...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 11 มิ.ย. 64
-มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงบางพื้นที่+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 36,958 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,388 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 7 แห่ง+ วานนี้ (10 มิ.ย. 64) พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหาร พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูคลองแสนแสบ ครั้งที่ 3/2564 เพื่อเร่งรัดติดตามความก้าวหน้าของผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติการพัฒนา ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมคลองแสนแสบทั้งระบบ ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.)...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 10 มิ.ย. 64
– ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีฝนฟ้าคะนอง- แม่น้ำสายหลัก ภาคเหนือ และภาคใต้ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก กลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 36,952 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,399 ล้าน ลบ.ม. (45%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 56.53 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 91.96 ล้าน...
อ่านต่อ