สรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 4 มิ.ย. 64
– มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยทำให้บริเวณประเทศไทยมีฝนน้อยในระยะนี้- แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคเหนือ และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลด- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,456 ล้าน ลบ.ม. (46%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,764 ล้าน ลบ.ม. (46%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 39.72 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 87.59 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 7 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 3 มิ.ย. 64
– มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยทำให้บริเวณประเทศไทยมีฝนน้อยในระยะนี้- แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคเหนือ และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลด- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,531 ล้าน ลบ.ม. (46%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,831 ล้าน ลบ.ม. (46%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 39.93 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 85.87 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 7 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 2 มิ.ย. 64
– มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยทำให้บริเวณประเทศไทยมีฝนน้อยในระยะนี้- แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลด- ปริมาณน้ำใช้การ แหล่งน้ำทุกขนาด 37,619 ล้าน ลบ.ม. (46%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,893 ล้าน ลบ.ม. (46%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 46.00 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 82.59 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 7 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 1 มิ.ย. 64
– มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้มีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นบางพื้นที่-แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง-ปริมาณน้ำใช้การ แหล่งน้ำทุกขนาด 37,677 ล้าน ลบ.ม. (46%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,951 ล้าน ลบ.ม. (46%) -ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 57.14 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 74.34 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 7 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก จำนวน...
อ่านต่อรองนายกฯ สั่ง กอนช. ผนึกกำลังจัดการน้ำทั่วประเทศรับมือฝน ‘64
วันนี้ (19 พ.ค. 64) พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) เป็นประธานการประชุมกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2564 เรื่อง “บูรณาการเชื่อมโยงจัดการน้ำทั่วไทยด้วย 10 มาตรการรับมือฝน’64” เพื่อติดตามผลสัมฤทธิ์ในการจัดการน้ำช่วงฤดูแล้งที่ผ่านมา และการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการตาม 10 มาตรการ รับมือช่วงฤดูฝนปี’64 โดยมีหัวหน้าหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง อาทิ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น พร้อมด้วยผู้แทนจากคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด 4 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลุ่มน้ำวัง โดย จ.ลำปาง...
อ่านต่อกอนช.เตรียมคิกออฟรับฝน’64 หลังเข้าสู่ฤดูฝนอย่างเป็นทางการ
“พลเอก ประวิตร” เตรียมนั่งบัญชาการหน่วยน้ำภายใต้ กอนช. 19 พ.ค.นี้ ย้ำความพร้อมลุย 10 มาตรการรับมือฝนปี’64 เตรียมชงครม.เห็นชอบอังคารนี้ พร้อมหนุนกลไกระดับท้องถิ่นร่วมกับบริหารจัดการน้ำ แผนป้องกัน ลดผลกระทบให้เกิดประสิทธิภาพ ดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ประเทศไทยเข้าฤดูฝนอย่างเป็นทางการตามประกาศกรมอุตุนิยมวิทยาเมื่อวันที่ 15 พ.ค.ที่ผ่านมา ดังนั้น เพื่อเตรียมความพร้อมแผนปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานในการบริหารจัดการน้ำ การป้องกันแก้ไขปัญหา บรรเทาผลกระทบ การให้ความช่วยเหลือประชาชนในช่วงฤดูฝนนี้ได้ทันสถานการณ์ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) จึงกำหนดจัดประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านระบบประชุมทางไกล (Video Conference) ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในวันพุธที่ 19 พฤษภาคมนี้ ณ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ...
อ่านต่อสทนช.เดินหน้าจัดทำข้อมูลผลิตภาพการใช้น้ำและพัฒนาระบบประเมินความเสียหายด้านน้ำ เพิ่มเครื่องมือวางแผนจัดการน้ำท่วม-แล้งยั่งยืน พร้อมใช้กลางปี 65
สทนช.เดินหน้าจัดทำข้อมูลผลิตภาพการใช้น้ำและพัฒนาระบบประเมินความเสียหายด้านน้ำ ภายใต้แผนแม่บทฯน้ำ 20 ปี เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ หวังใช้เป็นเครื่องมือวิเคราะห์วางแผนบริหารจัดการน้ำท่วม-น้ำแล้งในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มมูลค่าให้ทรัพยากรน้ำ เพื่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เปิดเผยถึงที่มาของการดำเนินการโครงการจัดทำข้อมูลผลิตภาพการใช้น้ำ ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561–2580) และโครงการปรับปรุงระบบประเมินและเชื่อมโยงผลการดำเนินงาน ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ว่า ภายหลังจากที่แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561–2580) ได้ถูกประกาศใช้ในปี 2562 และได้มีการดำเนินการตามแผนแม่บทในแต่ละด้านตลอดจนมีเก็บรายงานตัวชี้วัดตามแผนแม่บทดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง แต่ที่ผ่านมาพบว่าการรายงานตัวชี้วัดในประเด็นที่ 19 การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ ที่เชื่อมโยงไปยังยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยังขาดความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกและมีความยุ่งยากในการจัดทำข้อมูล ทำให้ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ในคราวเดียว ดังนั้น จึงเป็นที่มาของการเดินหน้าโครงการศึกษาทั้ง 2 โครงการ ซึ่งได้เริ่มโครงการไปแล้วเมื่อช่วงกลางเดือนเมษายนที่ผ่านมา...
อ่านต่อคู่มือการได้มาซึ่งกรรมการลุ่มน้ำ ผู้แทนภาคส่วนต่าง และผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ำในคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
คู่มือการได้มาซึ่งกรรมการลุ่มน้ำ ผู้แทนภาคส่วนต่าง และผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ำในคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
อ่านต่อคู่มือสำหรับผู้สมัครเข้ารับการสรรหา/คัดเลือกรรมการลุ่มน้ำ ผู้แทนภาคส่วนต่างๆในคณะกรรมการลุ่มน้ำ
คู่มือสำหรับผู้สมัครเข้ารับการสรรหา/คัดเลือกรรมการลุ่มน้ำ ผู้แทนภาคส่วนต่างๆในคณะกรรมการลุ่มน้ำ
อ่านต่อ