รายงานการดำเนินงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ประจำปี 2564
รายงานการดำเนินงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ประจำปี 2564 .…อ่านที่นี่
อ่านต่อถก 5 จังหวัดเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำฝนต่อยอด “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล”
ถก 5 จังหวัดเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำฝนต่อยอด “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล” กอนช.หารือ 5 จังหวัดเหนือเขื่อนเจ้าพระยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียน “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล” เร่งจัดหาพื้นที่รับน้ำหลากเพื่อหน่วงน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้าน ลบ.ม. เตรียมชง กนช.เห็นชอบพิจารณาพื้นที่-งบประมาณเร่งขับเคลื่อนก่อนเข้าสู่ฤดูฝนปี 66 วันนี้ (16 พ.ย.65) เวลา 09.00 น. ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการทรัพยากรน้ำพื้นที่เหนือเขื่อนเจ้าพระยาในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง โดยการถอดบทเรียนจาก “บางระกำโมเดล สู่ สี่แควโมเดล” ประจำปีงบประมาณ...
อ่านต่อ“พลเอก ประวิตร” สั่งเร่งลดพื้นที่น้ำท่วมขังให้เร็วที่สุดประเมินฝนตอนบนเริ่มลด…ชี้น้ำเต็มเขื่อนเอื้อประโยชน์แล้งปีนี้
เมื่อวันที่ 10 ต.ค. 65 เวลา 14.00 น. พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำครั้งที่ 3/2565 โดยมี ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) พร้อมด้วยผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) (สสน.) เป็นต้น เข้าร่วมการประชุม ณ มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า รัฐบาลมีความห่วงใยต่อสถานการณ์น้ำเนื่องจากปริมาณฝนในปีนี้มากกว่าค่าปกติ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือซึ่งมีปริมาณฝนใกล้เคียงปี 54...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 11 ต.ค. 65
+ ภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ฝั่งตะวันออกยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง+ ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกหนักบริเวณ จ.กาญจนบุรี (118 มม.) จ.สมุทรสงคราม (117 มม.) และ จ.ชลบุรี (112 มม.) + แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนแม่น้ำโขง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น + ประกาศกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 48/2565เฝ้าระวังระดับน้ำแม่น้ำชี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้มีหนังสือถึง กอนช. แจ้งเตือนระดับน้ำเขื่อนอุบลรัตน์เข้าสู่สภาวะวิกฤต ระดับ 3 คาดการณ์ว่าระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับวิกฤตหรือสูงกว่าคันดินโนนสัง ซึ่งจะทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์มีระดับน้ำสูงขึ้นและอาจกระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำ บริเวณ อ.อุบลรัตน์ เขาสวนกวาง ซำสูง น้ำพอง...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 10 ต.ค. 65
+ ภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง และภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกหนักบริเวณ จ.สงขลา (159 มม.) จ.เพชรบุรี (111 มม.) และ กรุงเทพมหานคร (107 มม.) + แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนแม่น้ำโขง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น + ประกาศกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 48/2565เฝ้าระวังระดับน้ำแม่น้ำชี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้มีหนังสือถึง กอนช. แจ้งเตือนระดับน้ำเขื่อนอุบลรัตน์เข้าสู่สภาวะวิกฤต ระดับ 3 คาดการณ์ว่าระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับวิกฤตหรือสูงกว่าคันดินโนนสัง ซึ่งจะทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์มีระดับน้ำสูงขึ้นและอาจกระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำ บริเวณ อ.อุบลรัตน์...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 9 ต.ค.65 65 เวลา 7.00 น.
+ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคตะวันออกมีฝนตกหนักกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง และภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ ปริมาณฝน 24 ชั่วโมง สูงสุดที่ จ.สุราษฎร์ธานี (137) จ.สระแก้ว (86) จ.อุบลราชธานี (71)+ ปริมาณน้ำ แหล่งน้ำทุกขนาด 66,126 ล้าน ลบ.ม. (81%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 58,181 ล้าน ลบ.ม. (81%) เฝ้าระวังน้ำต่ำกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง บริเวณภาคเหนือ เฝ้าระวังน้ำสูงกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ แม่งัด แม่มอก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 8 ต.ค.65 65 เวลา 7.00 น.
+ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก และภาคใต้ ยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง + ปริมาณฝน 24 ชั่วโมง สูงสุดที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ (131) จ.ระนอง (129) และ จ.นครสวรรค์ (127)+ ปริมาณน้ำ แหล่งน้ำทุกขนาด 65,690 ล้าน ลบ.ม. (80%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 57,765 ล้าน ลบ.ม. (81%) เฝ้าระวังน้ำต่ำกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง บริเวณภาคเหนือ เฝ้าระวังน้ำสูงกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 25 แห่ง ได้แก่ แม่งัด...
อ่านต่อพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมและเยี่ยมผู้ประสบภัย ณ อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
เมื่อวันที่ 6 ต.ค. 65 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมและเยี่ยมผู้ประสบภัย ณ อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ โดยมี ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) และผู้แทนจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ร่วมให้ข้อมูลสถานการณ์น้ำและอุทกภัยในพื้นที่ โดย จ.เพชรบูรณ์ ได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของพายุโนรู ส่งผลให้เกิดน้ำล้นตลิ่ง น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนและพื้นที่การเกษตร ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรี ได้กำชับส่วนราชการให้เร่งอำนวยความสะดวก รวมทั้งดูแลชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยรัฐบาลพร้อมให้การดูแลอย่างเต็มที่และจะจัดสรรงบประมาณและผลักดันการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ที่สำคัญเร่งด่วนอย่างต่อเนื่องข่าว : ทำเนียบรัฐบาลภาพ : ทำเนียบรัฐบาล, กรมชลประทาน
อ่านต่อ“พลเอก ประวิตร”ลงพื้นที่ จ.ปทุมฯ ย้ำประสิทธิภาพจัดการน้ำรอยต่อ ปทุม- กทม.
เมื่อวันที่ 6 ต.ค.65 เวลา 13.00 น. พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) พร้อมคณะลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้ำ จ.ปทุมธานี โดย นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี กล่าวต้อนรับและบรรยายสรุปสถานการณ์ภาพรวม จ.ปทุมธานี นายบุญสม ชลพิทักษ์วงศ์ รักษาการที่ปรึกษาด้านบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) นำเสนอแผนงานด้านทรัพยากรน้ำใน จ.ปทุมธานี และภาพรวมสถานการณ์น้ำปัจจุบัน นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน นำเสนอแผนบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ จ.ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ณ ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ก่อนลงพื้นที่ตรวจติดตามการบริหารจัดการน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณท่าน้ำวัดโบสถ์...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 7 ต.ค. 65
+ บริเวณภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนมีฝนลดลง แต่บริเวณภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก และภาคใต้ยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง+ ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกหนักบริเวณ จ.ประจวบคีรีขันธ์ (141 มม.) จ.เพชรบุรี (75 มม.) และ จ.ชุมพร (74 มม.) + แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนแม่น้ำโขง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น +ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ใน 19 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ ตาก พิจิตร นครสวรรค์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานีขอนแก่น เลย ชัยภูมิ มหาสารคาม...
อ่านต่อ