สทนช.ชงมาตรการควบคุมสารเคมีปนเปื้อนในน้ำเหตุเพลิงไหม้ รง.หมิงตี้เร่งประสานหน่วยงานดำเนินการทันที
สทนช.ร่วมประชุมด่วน หารือแนวทางและมาตรการเตรียมพร้อมรองรับผลกระทบต่อเนื่องจากเหตุเพลิงไหม้โรงงานหมิงตี้ เคมิคอล จำกัด พร้อมเสนอมาตรการด้านการจัดการน้ำ โดยจำกัดการแพร่กระจายสารเคมีเพื่อลดผลกระทบในวงกว้าง และติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชน วันนี้ (6 ก.ค. 64) ดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เปิดเผยภายหลังเข้าประชุมหารือร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเสนอมาตรการรองรับผลกระทบต่อเนื่อง จากเหตุการณ์เพลิงไหม้โรงงานหมิงตี้ เคมิคอล จำกัด ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Video Conference) ว่า จากเหตุการณ์เพลิงไหม้โรงงานหมิงตี้ เคมิคอล จำกัด ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเม็ดโฟมพลาสติก ในซอยกิ่งแก้ว 21 อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อกลางดึกคืนวันที่ 5 ก.ค. 64 ส่งผลกระทบให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 24 มิ.ย. 64
– ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่ง+ แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออก มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 36,873 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,288 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก จำนวน 2 แห่ง (อ่างฯน้ำพุง และอ่างฯหนองปลาไหล)+ กอนช....
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 23 มิ.ย. 64
– ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่ง+ แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออก มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 36,943 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,344 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง เฝ้าระวังน้ำมาก จำนวน 2 แห่ง (อ่างฯน้ำพุง และอ่างฯหนองปลาไหล)+ พลเอก...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 22 มิ.ย. 64
– ภาคกลาง มีฝนฟ้าคะนอง ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันตกมีฝนตกหนักบางแห่ง- แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออก มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,006 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,397 ล้าน ลบ.ม. (45%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 74.83 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 100.93 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 8...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 21 มิ.ย. 64
– ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้น กับมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณภาคตะวันออก และภาคใต้- แม่น้ำสายหลัก ภาคตะวันออก มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มทรงตัว ภาคใต้ ภาคเหนือ มีน้ำน้อยถึงปกติ แนวโน้มลดลง สำหรับแม่น้ำโขง น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง- ปริมาณน้ำแหล่งน้ำทุกขนาด 37,055 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,435 ล้าน ลบ.ม. (45%) ปริมาณน้ำไหลเข้าแหล่งน้ำ 88.56 ล้าน ลบ.ม.น้ำระบาย 108.18 ล้าน ลบ.ม. เฝ้าระวังน้ำน้อย จำนวน 8...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 20 มิ.ย. 64
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนลดน้อยลง+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,096 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,460 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง+ กอนช. ติดตามโครงการอนุรักษ์ ปรับปรุง ฟื้นฟูแหล่งน้ำและก่อสร้างระบบกระจายน้ำในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 4 โครงการ ที่ดำเนินการโดย กรมทรัพยากรน้ำ ดังนี้ โครงการก่อสร้างระบบกระจายน้ำ สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงโครงการหลวงสบเมย (จำนวน 4 แห่ง)...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 19 มิ.ย. 64
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนลดน้อยลงในระยะนี้+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,125 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,485 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง+ กอนช. ติดตามการดำเนินงานโครงการพัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ ซึ่งเป็นโครงการสำคัญตามนโยบายของรัฐบาล ตามที่ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ผู้อำนวยการ กอนช. ได้มอบหมายหน่วยงานดำเนินการ โดยกรมชลประทานดำเนินการดังนี้ โครงการขุดลอกแก้มลิงบึงบอระเพ็ด ผลการดำเนินการ ร้อยละ...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 18 มิ.ย. 64
ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,125 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,484 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง+ กอนช. ติดตามผลการดำเนินงาน ตาม 10 มาตรการรับมือฤดูฝนปี 2564 โดยหน่วยงานดำเนินการ ดังนี้ กรมทรัพยากรน้ำ ดำเนินการดังนี้- มาตรการที่ 7 การเตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือ เครื่องจักร และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและบรรเทาวิกฤตน้ำในช่วงฤดูฝนโดยติดตั้งเครื่องสูบน้ำในพื้นที่เสี่ยงจำนวน 320 เครื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสูบน้ำป้องกันและบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน – มาตรการที่...
อ่านต่อสทนช. ติวเข้มระบบ Thai Water Plan จัดทำแผนปฏิบัติการด้านน้ำ พร้อมใช้ทั่วประเทศ ทันเสนอ กนช.ปลายปีนี้
สทนช.ผนึกกำลังหน่วยงานด้านน้ำ จังหวัดและอปท.ทั่วประเทศ ติวเข้มการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านน้ำปี 66-70 ผ่านระบบบูรณาการแผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรน้ำ หรือ Thai Water Plan มั่นใจช่วยให้การแก้ไขปัญหาน้ำเชิงพื้นที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกมิติ ลดความซ้ำซ้อนการจัดทำแผนงาน/โครงการ สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน พร้อมใช้งานระบบทั่วประเทศ ทันเสนอแผนต่อ กนช.ปลายปีนี้ดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เปิดเผยว่า พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) มีนโยบายเกี่ยวกับแนวทางการจัดทำแผนงานด้านน้ำของทุกหน่วยงานจะต้องผ่านกลไกการพิจารณาของคณะกรรมการในระดับพื้นที่ คือ คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัดและคณะกรรมการลุ่มน้ำ เพื่อตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาในเชิงพื้นที่และเกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง โดยการขอจัดตั้งงบประมาณปี 2565 ที่ผ่านมา สทนช. ได้เริ่มดำเนินการตามแนวทางกลไกของพ.ร.บ.น้ำ พ.ศ.2561 เป็นปีแรก คือ แผนปฏิบัติการด้านทรัพยากรน้ำทั้งหมดต้องให้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 17 มิ.ย. 64
ประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ+ แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มลดลง+ ปริมาณน้ำทั้งประเทศ 37,089 ล้าน ลบ.ม. (45%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 32,447 ล้าน ลบ.ม. (45%) เฝ้าระวังน้ำน้อยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 8 แห่ง+ กอนช. ติดตามการดำเนินงานตามข้อสั่งการของ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดหาแหล่งน้ำต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายน้ำเพื่อสนับสนุนเกษตรกร และช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ดังนี้ กรมชลประทาน อยู่ระหว่างดำเนินการศึกษา 3 โครงการพัฒนาแหล่งน้ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อเป็นแหล่งน้ำต้นทุนในอนาคต- โครงการอ่างเก็บน้ำน้ำทิน เพิ่มปริมาณเก็บกักน้ำ 15.68 ล้าน...
อ่านต่อ