รายงานประจำปี2565 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
รายงานประจำปี2565 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ อ่านที่นี่
อ่านต่อความเป็นมาของวันน้ำโลก และ Theme วันน้ำโลกปี 2566
โลกของเราประกอบด้วยพื้นดินและพื้นน้ำ โดยส่วนที่เป็นพื้นน้ำนั้น มีอยู่ประมาณ 3 ส่วน หรือร้อยละ 75และเป็นพื้นดิน 1 ส่วน หรือร้อยละ 25 น้ำมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืชพันธุ์ต่างๆ “น้ำ” เป็นแหล่งกำเนิดชีวิตของสัตว์และพืช คนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ำยังมีความจำเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงสาธารณูปโภค ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ในปัจจุบันภาวะการขาดแคลนน้ำและปัญหามลพิษในน้ำมีอัตราสูงขึ้นมาก เนื่องจากการเพิ่มจำนวนของประชากรมนุษย์ ส่งผลต่อความต้องการการใช้น้ำ กว่าครึ่งหนึ่งของประชากรโลกประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรง อย่างน้อยที่สุด 1 เดือนต่อปี ผลกระทบของมลพิษในน้ำ และการขาดแคลนน้ำ ส่งผลถึงความจำเป็นพื้นฐานของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดของน้ำ โดยในปี 2017 มีการรายงานว่า ประชากรโลกกว่า 3 พันล้านคนไม่สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำสะอาด...
อ่านต่อรับสมัครที่ปรึกษาระดับประเทศภายใต้โครงการ 2022/23 MRC – KDI Knowledge Sharing Program (KSP)
ด้วยสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะสำนักเลขาธิการคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทยและเป็นหน่วยงานกลางในการประสานงานตามกรอบความร่วมมือแม่น้ำโขง ประสงค์จะรับสมัครที่ปรึกษาระดับประเทศภายใต้โครงการ 2022/23 MRC – KDI Knowledge Sharing Program (KSP) ปฏิบัติงานวิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญชาวเกาหลี โดยมีระยะเวลาทำงาน 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนมิถุนายน 2566ซึ่งมีหน้าที่บทบาทภารกิจเกี่ยวข้องและสอดคล้องกับการบริหารจัดการอุทกภัยและภัยแล้งโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยสามารถดูรายละเอียดได้ตามเอกสารแนบท้าย ตำแหน่งที่ปรึกษาระดับประเทศ โดยการสมัครที่ครบสมบูรณ์ต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษ และต้องประกอบด้วย ประวัติส่วนบุคคลพร้อมรูปถ่าย (CV) วุฒิบัตร ผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษ เช่น TOEIC, TOEFL, IELTS จดหมายแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษ (Cover Letter) หลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง วิธีการคัดเลือก หน่วยงาน...
อ่านต่อสทนช. เข้าร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์และตักบาตร วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลที่9) วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2565
วันนี้ (5 ธันวาคม 2565) เวลา 7.30 น. นายสุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) พร้อมด้วย ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ สทนช. เข้าร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์และตักบาตรพระสงฆ์และสามเณร จำนวน 189 รูป และพิธีวางพานพุ่มและถวายบังคมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลที่9) วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2565 โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และนางนราพร จันทร์โอชา ภริยา เป็นประธานในพิธีฯ ณ บริเวณพิธีท้องสนามหลวง
อ่านต่อรายงานการดำเนินงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ประจำปี 2564
รายงานการดำเนินงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ประจำปี 2564 .…อ่านที่นี่
อ่านต่อถก 5 จังหวัดเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำฝนต่อยอด “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล”
ถก 5 จังหวัดเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำฝนต่อยอด “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล” กอนช.หารือ 5 จังหวัดเหนือเขื่อนเจ้าพระยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียน “บางระกำโมเดล” สู่ “สี่แควโมเดล” เร่งจัดหาพื้นที่รับน้ำหลากเพื่อหน่วงน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้าน ลบ.ม. เตรียมชง กนช.เห็นชอบพิจารณาพื้นที่-งบประมาณเร่งขับเคลื่อนก่อนเข้าสู่ฤดูฝนปี 66 วันนี้ (16 พ.ย.65) เวลา 09.00 น. ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการทรัพยากรน้ำพื้นที่เหนือเขื่อนเจ้าพระยาในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง โดยการถอดบทเรียนจาก “บางระกำโมเดล สู่ สี่แควโมเดล” ประจำปีงบประมาณ...
อ่านต่อ“พลเอก ประวิตร” สั่งเร่งลดพื้นที่น้ำท่วมขังให้เร็วที่สุดประเมินฝนตอนบนเริ่มลด…ชี้น้ำเต็มเขื่อนเอื้อประโยชน์แล้งปีนี้
เมื่อวันที่ 10 ต.ค. 65 เวลา 14.00 น. พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำครั้งที่ 3/2565 โดยมี ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) พร้อมด้วยผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) (สสน.) เป็นต้น เข้าร่วมการประชุม ณ มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า รัฐบาลมีความห่วงใยต่อสถานการณ์น้ำเนื่องจากปริมาณฝนในปีนี้มากกว่าค่าปกติ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือซึ่งมีปริมาณฝนใกล้เคียงปี 54...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 11 ต.ค. 65
+ ภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ฝั่งตะวันออกยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง+ ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกหนักบริเวณ จ.กาญจนบุรี (118 มม.) จ.สมุทรสงคราม (117 มม.) และ จ.ชลบุรี (112 มม.) + แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนแม่น้ำโขง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น + ประกาศกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 48/2565เฝ้าระวังระดับน้ำแม่น้ำชี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้มีหนังสือถึง กอนช. แจ้งเตือนระดับน้ำเขื่อนอุบลรัตน์เข้าสู่สภาวะวิกฤต ระดับ 3 คาดการณ์ว่าระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับวิกฤตหรือสูงกว่าคันดินโนนสัง ซึ่งจะทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์มีระดับน้ำสูงขึ้นและอาจกระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำ บริเวณ อ.อุบลรัตน์ เขาสวนกวาง ซำสูง น้ำพอง...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 10 ต.ค. 65
+ ภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง และภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ ปริมาณฝนตกใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกหนักบริเวณ จ.สงขลา (159 มม.) จ.เพชรบุรี (111 มม.) และ กรุงเทพมหานคร (107 มม.) + แม่น้ำสายหลัก น้ำน้อยถึงปกติ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนแม่น้ำโขง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น + ประกาศกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 48/2565เฝ้าระวังระดับน้ำแม่น้ำชี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้มีหนังสือถึง กอนช. แจ้งเตือนระดับน้ำเขื่อนอุบลรัตน์เข้าสู่สภาวะวิกฤต ระดับ 3 คาดการณ์ว่าระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับวิกฤตหรือสูงกว่าคันดินโนนสัง ซึ่งจะทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์มีระดับน้ำสูงขึ้นและอาจกระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำ บริเวณ อ.อุบลรัตน์...
อ่านต่อสรุปสถานการณ์น้ำภาพรวมของประเทศ วันที่ 9 ต.ค.65 65 เวลา 7.00 น.
+ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคตะวันออกมีฝนตกหนักกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง และภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง+ ปริมาณฝน 24 ชั่วโมง สูงสุดที่ จ.สุราษฎร์ธานี (137) จ.สระแก้ว (86) จ.อุบลราชธานี (71)+ ปริมาณน้ำ แหล่งน้ำทุกขนาด 66,126 ล้าน ลบ.ม. (81%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ 58,181 ล้าน ลบ.ม. (81%) เฝ้าระวังน้ำต่ำกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง บริเวณภาคเหนือ เฝ้าระวังน้ำสูงกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ แม่งัด แม่มอก...
อ่านต่อ